ความ สํา คั ญ ของ การ วางแผน ทรัพยากร มนุษย์

ร-โน-เวท-ราน-ขาย-ของ-ชา

ช่วยให้องค์การสามารถจัดปริมาณ ประเภท และระดับทักษะของทรัพยากรบุคคลในองค์การให้เหมาะสมกับงานในระยะเวลาที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ที่กำหนดให้ ซึ่งจะเป็นผลทำให้ทั้งองค์การและบุคลากรมีการปฏิบัติงานที่บรรลุวัตถุประสงค์ทีกำหนดไว้อย่างมีประสิทธิผลและประสิทธิภาพและได้รับผลประโยชน์สูงสุดในระยะยาว 3. ช่วยให้องค์การสามารถวางแผนความก้าวหน้าในอาชีพของพนักงานในแต่ละกลุ่มงาน และในแต่ละระดับความรับผิดชอบได้ และช่วยให้ พนักงานมีความพึงพอใจในการทำงาน 4. ช่วยให้องค์การทราบข้อมูลพื้นฐานเกี่ยวกับสมรรถนะของทรัพยากรบุคคลที่มีอยู่ในปัจจุบัน ทำให้มีการปรับการใช้กำลังคนให้ยืดหยุ่นตามสภาพการณ์ทีเปลี่ยนแปลงไป 5. เป็นสิ่งที่เชื่อมโยงระหว่างการบริหารทรัพยากรบุคคล ให้เข้ากับกระบวนการวางแผนเชิงกลยุทธ์ขององค์การ ซึ่งแผนการบริหารทรัพยากรบุคคล ที่สมบูรณ์ เสมือนเข็มทิศชี้นำการปฏิบัติให้ไปสู่เป้าหมายที่ต้องการ

ความสำคัญของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ - การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management)

  • ความสำคัญของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ - การจัดการทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Management)
  • สูตรน้ําจิ้มปอเปี๊ยะ
  • แบบ กระเป๋า โค ช แท้
  • Lihit lab pen case ราคา d
  • นกกรงหัวจุก แบบ เบิ้ลสาม ไม่ซ้ำสำนวน - YouTube
  • หลวง ปู่ ก รับ วัด โกรกกราก
  • ประวัติ กำเนิดรถมอเตอร์ไซค์ไฟฟ้า

ช่วยให้การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็นไปอย่างโปร่งใส และเป็นธรรม เนื่องจากการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ต้องมี การกำหนดคุณสมบัติและความสามารถในการทำงาน ซึ่งถือเป็นเกณฑ์มาตรฐานในการกำหนดตัวบุคคลและผลงานที่ต้องทำได้ หลักเกณฑ์ดังกล่าวนี้เอง สามารถใช้เป็นปัจจัยในการประเมินผลการปฏิบัติงานได้ ทั้งยังเป็นข้อมูลให้แก่ผู้บังคับบัญชา ในการประเมินผู้ใต้บังคับบัญชาและเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติงานว่าตนเองต้องมีคุณสมบัติ และมีผลงานอย่างไรจึงจะได้มาตรฐานตามที่องค์การต้องการ 5. ช่วยให้การพิจารณาเลื่อนขั้น เลื่อนตำแหน่ง การโยกย้ายหรือการหมุนเวียนงานเป็นไปด้วยความเหมาะสมจากการประเมินผลที่เป็นธรรมทำให้ผู้ที่มีผลงานดีได้เลื่อนตำแหน่ง มีการโยกย้ายบุคคลให้ตรงตามความถนัด หรือมีการหมุนเวียนงานเพื่อให้บุคคลมีการเรียนรู้งานในฝ่ายต่าง ๆ ขององค์การได้ทั่วถึงและสามารถเข้าใจระบบการทำงานโดยรวมได้ดีขึ้น 6. ช่วยให้การบริหารค่าจ้างเงินเดือนและสวัสดิการมีความเหมาะสม เนื่องจากการวางแผนควบคุมจำนวนบุคลากรให้อยู่สัดส่วนที่เหมาะสมกับปริมาณงาน ถือเป็นการช่วยลดภาระค่าใช้จ่ายให้แก่องค์การ ไม่ทำให้องค์การต้องแบกรับภาระเรื่องการจ่ายค่าตอบแทนให้แก่บุคลากรที่มีมากเกินความต้องการ ซึ่งอาจทำให้เกิดปัญหาขาดเงินทุนหมุนเวียนที่จะนำมาจ่ายค่าจ้างให้หรืออาจต้องประหยัดเงินจนต้องลดเงินเดือนของพนักงานลง 7.

สถานี รถไฟฟ้า เตาปูน mrt สาย สี ม่วง เขต บางซื่อ ก

การศึกษาโครงสร้างงานและการออกแบบงาน Examine the job structure and design 5. การศึกษาข้อกำหนดด้านทักษะที่ต้องการในอนาคต จำแยกตามกลุ่มงาน Examine the future skill requirement by job category 6. การคาดคะเนจำนวนทรัพยากรมนุษย์ส่วนที่ขาดแคลนหรือส่วนที่เกินในแต่ละกลุ่มงาน Estimate human resource short age or surplus for each occupational category 7. การกำหนดวัตถุประสงค์เฉพาะสำหรับหน้าที่ต่างๆของทรัพยากรมนุษย์ Establish Specific objective for human resource function 1. 3 การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ 1. 1 การวางแผนทรัพยากรมนุษย์เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน การวางแผนทรัพยากรมนุษย์เป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนเชิงกลยุทธ์ขององค์การ ซึ่งจัดได้ว่าเป็นปัจจัยที่มีผลโดยตรงต่อการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน และเป็นส่วนหนึ่งของการกำหนดความสามารถหลักขององค์การ ปัจจุบันองค์การต่างๆ มีการลงทุนในทรัพยากรมนุษย์เป็นจำนวนมาก เพราะถือว่าทรัพยากรมนุษย์ขององค์การที่มีคุณค่าจะเป็นทุนมนุษย์ขององค์การต่อไป 1. 2 ความท้าทายการวางแผนทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ มีด้วยกัน 3 ด้าน *1. ด้านสิ่งแวดล้อม *2. ด้านองค์การ *3. ด้านบุคคล 1.

การ บอก เวลา แบบ อังกฤษ

ในการบริหารองค์กร มนุษย์นับเป็นทรัพยากรสำคัญที่จำเป็นและต้องใช้ทรัพยากรมนุษย์จำนวนมากในหลากหลายหน้าที่ เพราะทรัพยากรมนุษย์จะเป็นผู้สร้างสรรค์งานบริการและเป็นผู้ให้บริการด้านสุขภาพ ที่เน้นคุณภาพ มาตรฐาน ความปลอดภัย และคุณธรรมจริยธรรม ซึ่งการที่จะได้มาซึ่งทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณภาพ การพัฒนาและการรักษาทรัพยากรมนุษย์ให้ทำงานให้กับองค์การอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ตลอดจนการออกจากองค์การไปด้วยดีนั้น ล้วนต้องอาศัยการจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่ดี ดังนั้น การจัดการทรัพยากรมนุษย์มีความสำคัญกับการบริหารองค์การ ดังต่อไปนี้คื 1.

3 ประโยชน์ในการวางแผนทรัพยากรมนุษย์เชิงกลยุทธ์ *1. ช่วยทำให้ทราบข้อมูลพื้นฐานต่างๆเกี่ยวกับทรัพยากรมนุษย์ *2.

ประโยชน์ของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ - GotoKnow

มีบัญชีอยู่แล้ว? 21 พ. ค. 2020 เวลา 12:24 • การศึกษา สรุป 33412 การวางแผนทรัพยากรมนุษย์ human resource planning มสธ. หน่วยที่ 1 แนวคิดเกี่ยวกับการวางแผนทรัพยากรณ์มนุษย์ 1. 1 ความหมาย ความสำคัญ และขั้นตอนของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ 1. 1. การวางแผนทรัพยากรมนุษย์เป็นกระบวนการประมาณการความต้องการ และการตอบสนองความต้องการทรัพยากรมนุษย์อย่างเป็นระบบเพื่อให้องค์การมีทรัพยากรที่มีความเหมาะสมทั้งในด้าน ปริมาณ คุณภาพ ทั้งในเวลาปัจจุบันและอนาคต การวางแผนทรัพยากรมนุษย์มีความสำคัญต่อองค์การทำให้การจัดหา การใช้และการพัฒนาและการบำรุงรักษาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม ทั้งภายนอกและภายใน โดยแบ่งเป็น 3 มิติ 1. ความสำคัญต่อองค์การ *ช่วยให้คาดเดาอนาคต *ช่วยให้รู้ถึงข้อมูลพื้นฐานอุปสงค์อุปทานด้านทรัพยากรมนุษย์ *เป็นกิจกรรมเขื่อมโยงการนำแผนไปปฏิบัติ *Careers planning and succession planning ช่วยให้พนักงานมีพึงพอใจในการปฏิบัติงาน *เกิดการจ้างที่เท่าเทียมกัน Equal employment opportunity:EEO *ช่วยให้การลงทุนในทรัพยากรมนุษย์เกิดประโยชน์สูงสุดต่อองค์การ 2. ความสำคัญต่อผู้บริหาร *ทำให้ผู้บริหารวางแผนสรรหา คัดเลือกทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ *ใช้ประโยชน์ทางด้านการฝึกอบรมให้พนักงานเพื่อเพิ่มพูน ความรู้ ทักษะ ความสามารถในการปฏิบัติงาน *เตรียมความพร้อมให้กับพนักงานระดับบริหารให้มีความพร้อม 3.

ประโยชน์ของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ ชลลดา พึงรำพรรณ การวางแผนทรัพยากรมนุษย์มีประโยชน์ต่อการดำเนินงานด้านทรัพยากรมนุษย์หลายประการ หากสามารถวางแผนได้อย่างมีระบบชัดเจนและทันสมัยจะช่วยให้องค์การใช้ประโยชน์จากแผนทรัพยากรมนุษย์ได้ดังนี้ 1. ช่วยให้การวางแผนการสรรหาคัดเลือกบุคคลเข้าทำงานสามารถดำเนินการได้ตรงตามความต้องการอย่างแท้จริง โดยพิจารณาข้อมูลที่ได้จากการวิเคราะห์งานอันได้แก่ คำบรรยายลักษณะงานและคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง เพื่อให้ได้คนที่มีความรู้ความสามารถในปริมาณที่เหมาะสมและในช่วงเวลาที่ต้องการ 2. ช่วยให้การวางแผนจัดฝึกอบรมและพัฒนาบุคคลสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ และเป้าหมายหลักขององค์การ โดยการศึกษานโยบายขององค์การ ลักษณะงาน และศักยภาพของบุคคลที่มีอยู่ว่ามีความสอดคล้องกันมากน้อยเพียงใด หากพบว่ามีสิ่งที่ต้องพัฒนาหรือสนับสนุนให้มีการเพิ่มพูนความรู้ในรูปแบบใดก็ตาม องค์การสามารถดำเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ช่วยให้การจัดวางตัวบุคคลให้ดำรงตำแหน่งต่าง ๆ ตามความรู้ความสามารถได้อย่างเหมาะสม ซึ่งจะทำให้บุคคลได้มีโอกาสทำงานตามบทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถ เป็นการใช้คนให้เหมาะกับงานสร้างแรงจูงใจให้แก่บุคคลได้วิธีหนึ่ง 4.

การวางแผนทรัพยากรมนุษย์เชิงรุก หรือเชิงรับ proactive and reactive human tanning planning resource *2. การตัดสินใจเลือกความกว้างหรือความแคบของขอบข่ายกิจกรรมของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ The breadth of fucus in human resource planning *3. การวางแผนที่เป็นทางการและการวางแผนที่ไม่เป็นทางการ Formal and informal plan ***การวางแผนทรัพยากรมนุษย์จะเป็นการรวมการจัดทำแผนต่างๆ ของการจัดการทรัพยากรมนุษย์ไว้ด้วยกัน ซึ่งประกอบไปด้วย *แผนการสรรหา *แผนการคัดเลือก *แผนการจ่ายค่าตอบแทน *แผนการฝึกอบรมและพัฒนา *แผนการเลื่อนขั้นตำแหน่ง *แผนการประเมินผลปฏิบัติงาน *แผนความก้าวหน้าในอาชีพ *แผนทดแทนตำแหน่ง 1. 2ตัวแบบสำหรับการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ เพื่อใช้ในการจัดทำแผนทรัพยากรมนุษย์ มี 7 ขั้น ได้แก่ 1. การศึกษาปทัสถานและค่านิยมของผู้บริหารและสภาพแวดล้อใการเมืองภายในองค์การ Personnel values and norms of strategic manager and internal organization political environment 2. การกำหนดวัตถุประสงค์ด้ายการขยายงานหรือชลอการเจริญเติบโตขององค์การ Determine organizational grouth/Retrenchment objective 3. การกำหนดวัตถุประสงค์ด้านทรัพยากรมนุษย์ Determine human resources objective 4.

กิน ยา คุม ฉุกเฉิน ต้อง กิน ภายใน กี่ ชั่วโมง

ความสำคัญต่อพนักงาน *ก่อให้เกิดการประสานงานภายในทีมงาน *สื่อสารเข้าใจ ลดปัญหาขัดแย้ง *พัฒนาขีดความสามารถ ศัพท์ที่เกี่ยวข้อง Human resource planning แผนทรัพยากรมนุษย์ Manpower แผนกำลังพล Personal Planning แผนบุคลากร Employment แผนการจ้างงาน 1. 3. ขั้นตอนการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนสำคัญ 1. ขั้นตอนของการเตรียมการ Preparation *1. รวบรวมข้อมูล( ด้านทรัพยากรมนุษย์ นโยบาย เป้าหมาย และแนวโน้มการขยายงาน) *2. วิเคาะห์ข้อมูล *3. การพยากรณ์และการกำหนดความต้องการ 2. ขั้นตอนของการจัดทำแผน Plan formulation *1. การกำหนดทางเลือก *2. การเลือกทางเบือกที่เหมาะสม *3. การกำหนดแผน 3. ขั้นตอนของการดำเนินการตามแผน Plan Implementation 4. ขั้นตอนการประเมินผลแผน Plan Evaluation 1. 2 แนวทางในการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ 1. 2. 1 ลักษณะทั่วไปของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ การวางแผนทรัพยากรมนุษย์เป็นกุญแจเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการทรัพยากรมนุษย์และการวางแผนเชิงกลยุทธ์ขององค์การให้สอดคล้องกัน เพื่อให้การดำเนินงานขององค์การเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ บรรลุผลตามเป้าหมายที่องค์การต้องการ มิติที่ผู้วางแผนจะพิจารณาตัดสินใจประกอบด้วยมิติที่สำคัญ คือ *1.

เพื่อการคาดคะเน กำลังแรงงานให้เหมาะสมกับงานและระยะเวลา โดยคำนึงถึง ความรู้ ทักษะ และความสามารถตามตำแหน่งงานนั้นๆ 2. เพื่อเป็นแนวทางในการกำหนดแผนกลยุทธ์ ในแต่ละด้านขององค์กร เช่นด้านการตลาด ด้านการผลิต และด้านอื่นๆ 3. เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องในองค์กรมีความเข้าใจในกรอบและแผนอัตรากำลังคน สำหรับเตรียมหามาตรการรองรับ และแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับ กำลังแรงงานในอนาคต 4. เพื่อธำรงไว้ในเรื่องจำนวนและคุณภาพ ของทรัพยากรบุคคล ที่ต้องการ 5. เพื่อสร้างความเข้าใจร่วมกันเกี่ยวกับสภาพของทรัพยากรบุคคลในหน่วยงานต่างๆ ภายในองค์การ ซึ่งจะเชื่อมโยง ไปถึงการไกล่เกลี่ยกำลังคนระหว่างหน่วยงานในอนาคต ความสำคัญของการวางแผนทรัพยากรมนุษย์ ทรัพยากรมนุษย์เป็นทรัพยากรที่มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อการผลิตหรือการดำเนินกิจการของหน่วยงาน การที่จะได้ทรัพยากรบุคคลที่มีคุณภาพ จำเป็นต้องมีการวางแผน ทั้งนี้เพราะการวางแผนทรัพยากรมนุษย์มีความสำคัญดังต่อไปนี้ 1. ช่วยให้องค์การสามารถที่จะพยากรณ์เกี่ยวกับเงื่อนไขต่างๆ ในอนาคต ไม่ว่าจะเป็นเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและเทคโนโลยี ซึ่งถ้าได้มีการคาดการณ์ ก็จะได้มีมาตรการ เพื่อรองรับเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ทำให้ปัญหาที่องค์การจะต้องเผชิญในอนาคตด้านกำลังคน ลดความรุนแรงลงได้ ยังผลให้องค์การสามารถดำเนินการได้อย่างมั่นคงท่ามกลางความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น 2.

  1. ตรวจ หวย ฮานอย วัน นี้ ค่ะ คาราโอเกะ
  2. วิธี เชื่อม ต่อ โทรศัพท์ กับ ทีวี provision
  3. ขาย bts residence วิภาวดี ซอย 3 download
Wednesday, 23 February 2022