การ พัฒนาการ สอน ภาษา ไทย

ขาย-บาน-เท-อด-ไท-2562

ความเป็นมา ผมเขียนบทความนี้ครั้งแรก จัดทำเป็น Power point สำหรับบรรยายให้กับคณะครูเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดตาก เขต ๒ เมื่อปี ๒๕๕๐ โดยเผอิญไปเยี่ยมเยือนโรงเรียนแห่งหนึ่ง แล้วไปเห็นบนกระดานดำ ครูเขียนคำว่า "ป้า" ไว้ ผมลองเขียนคำใหม่ว่า "ม้า" นักเรียนทุกคนตอบว่ายังไม่ได้เรียน อ่านไม่ได้ ผมลองให้นักเรียนสะกดคำ นักเรียนก็สะกดได้และอ่านเป็นคำได้ ผอ.

เต็มเรื่อง

๑ และรับหน้าที่งานวิชาการเข้ารับการอบรมต่าง ๆ โดยเฉพาะเรื่องของหลักสูตร จึงต้องมาทำหน้าที่เป็นยครูสอน ป. ๑ ฉันจึงบอกเพื่อนครูว่า ฉันจะสอนเด็กป. ๑ ตลอดชีวิตครู ด้วยเหตุผลที่ครูคนอื่นเขาเข้าใจว่า ป. ๑ "สอนยาก สอนไม่เป็น" เมื่อฉันตั้งปณิธานในการเป้นครู ป. ๑ จึงต้องปลูกฝังการเรียนรู้ภาษาไทยให้นักเรียนเป็นผู้ที่มีพื่นฐานที่ดีเผื่อจะได้นำไปสู่การเรียนรู้ในชั้นสูงต่อไป ฉันจึงมีการวางแผนจัดการสอนอย่างไรให้เด้กได้เรียนรู้เร็วและมีทักษะทางภาษาเหมาะกับวัยจึงได้ปฏิบัติหน้าที่ประจำของครูคือ จัดทำแผนการสอน ผลิตสื่อ ศึการะบบการวัดผล ในระยะ ๑๐ ปีแรกของการสอนได้จัดการเรียนรู้ตามคู่มือครู นำผลงานที่จัดทำขึ้นส่งเข้าประกวดได้รับการคัดเลือกเป็นครูดีเด่น รางวัลต่าง ๆ และเลื่อนระดับ ๗ -๘ ได้สำเร็จด้วยผลงานการจัดการเรียนการสอนชั้น ป. ๑ นั่นเอง ปี ๒๕๔๒ เป็นปีแห่งการปฏิรูปการเรียนรู้ ฉันได้ย้ายมาสอนโรงเรียนใหม่มีนักเรียนมากและยังคงสอน ป. ๑ เช่นเดิม จึงได้รวบรวมประสบการณ์การสอนภาษาหาความรู้เพิ่มเติมและได้นำมาสังเคราะห์เป็นรูปแบบการสอนของตนเองและมีการผลิตสื่อ/นวัตกรรม และได้เข้าโครงการหนึ่งโรงเรียนหนึ่งนวัตกรรมได้รับคัดเลือกผลงานระดับเขตพื้นที่ ระดับภาคและเข้ารับรางวัล ครูดีในดวงใจ และได้รับคัดเลือกให้เข้าร่วมรายการ "ครูค้นครู" ของสำนักงานพพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา(ไร่ขิง) "ฉันภูมิใจในความเป็นครู ป.

๑" และจะทำหน้าที่ครู ป. ๑ ให้ดียิ่งขึ้นไป ปี ๒๕๔๖ ได้จัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรการศึกาขั้นพื้นฐานเป็นหลักสูตรที่เปิดกว้างให้ฉันได้คิดค้นหาวิธีการสอน ทำอย่างไรให้นักเรียนเรียนรู้ได้เร็วและมีทักษะที่คงทนยั่งยืนจึงได้พัฒนาการสอน ภาษาไทยชั้นประถมศึกษาปีที่ ๑ ด้วยกระบวนการ ๖ ขั้น ประสานทักษะ ฉันจึงภูมิใจมากว่า ความสำเร็จในชีวิตความเป็นครู คือครูผู้สอนชั้น ป.

สามารถใช้ประสบการณ์จากการเรียนภาษาไทยมาช่วยในการคิด ตัดสินใจ แก้ปัญหา และวินิจฉัยเหตุการณ์ต่าง ๆ อย่างมีเหตุผล 6. มีความรู้ความเข้าใจและเจตคติที่ถูกต้องต่อการเรียนภาษาไทยและวรรณคดี ทั้งในด้านวัฒนธรรมประจำชาติและการเสริมสร้างความงดงามในชีวิต(กระทรวงศึกษาธิการ.

ฟังได้ พูดได้ อ่านได้ เขียนได้ ๒. ฟังเป็น พูดเป็น อ่านเป็น เขียนเป็น ๓.

2532: 76) ดังนั้นการศึกษาวิชาภาษาไทยจึงเป็นสิ่งสำคัญสำหรับคนในชาติของเรา ซึ่งวรรณี โสมประยูร (2534: 28) ได้สรุปความสำคัญของการสอนภาษาไทยไว้ตอนหนึ่งว่า มนุษย์ได้ใช้ทักษะการฟัง พูด อ่านและเขียน เป็นเครื่องมือในการศึกษาความรู้ เพื่อประกอบอาชีพ พัฒนาบุคลิกภาพและสร้างเสริมคุณภาพชีวิตในด้านอื่น ๆ เพราะคนเราได้รับความรู้ ความคิดต่าง ๆ จากการฟัง การอ่าน แล้วการเขียนบันทึกไว้เพื่อพูดหรือเขียนถ่ายทอดให้ผู้อื่นเข้าใจอีกทอดหนึ่ง การเขียนของนักเรียนที่อ่อนภาษาจึงทำให้อ่อนวิชาอื่น ๆ ด้วย ด้วยความตระหนักถึงความสำคัญของภาษาไทยกระทรวงศึกษาธิการจึงกำหนดให้หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ. ศ. 2533) ได้บรรจุวิชาภาษาไทยให้อยู่ในกลุ่มทักษะที่เป็นเครื่องมือการเรียนรู้และได้กำหนดจุดประสงค์ของการสอนภาษาไทยไว้ดังนี้ 1. มีทักษะในการฟัง พูด อ่าน และเขียน โดยมีความรู้ความเข้าใจหลักเกณฑ์อันเป็นพื้นฐานของการเรียนภาษา 2. สามารถใช้ภาษาติดต่อทั้งการรับรู้และถ่ายทอดความรู้สึกนึกคิดอย่างมีประสิทธิภาและสัมฤทธิผล 3. สามารถใช้ภาษาได้ถูกต้องเหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคลตลอดจนสามารถใช้ภาษาในเชิงสร้างสรรค์ได้ 4. มีนิสัยรักการอ่าน รู้จักเลือกหนังสืออ่านและใช้เวลาว่างในการแสวงหาความรู้เพิ่มเติมจากหนังสือ สื่อมวลชน และแหล่งความรู้อื่น ๆ 5.

สอนภาษาไทยอย่างไร ให้มีประสิทธิภาพ - เว็บไซต์ครูอัพเดตดอทคอม สอบครูผู้ช่วย สอบบรจจุ สอบบรรจุครู สอบครู ปฏิรูปการศึกษา ครู ครูอัตราจ้าง พนักงานราชการ ข่าวการศึกษา สอบข้าราชการ สพฐ

เลือกใช้วิธีที่เหมาะสมหลาย ๆ วิธีตลอดจนการใช้สื่อการเรียนที่มีประสิทธิภาพเพื่อมิให้ผู้เรียนเกิดความเบื่อหน่าย(สุชาดา วัยวุฒิ. 2529:64-65) ประดินันท์ อุปรนัย (2529:25) ได้กล่าวถึงการสอนภาษาไทยว่า การสอนภาษาไทยจะไม่มุ่งสอนทักษะใดทักษะหนึ่งเพียงทักษะเดียว แต่จะสอนให้นักเรียนมีโอกาสพัฒนาทักษะทางภาษาทั้ง 4 ด้านไปพร้อม ๆ กันโดยอาจเน้นทักษะใดทักษะหนึ่งในการสอนครั้งหนึ่ง ๆ มากกว่าทักษะอื่น ๆ ได้นอกจากนี้กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ(2535: ก-จ) ยังได้แนะนำแนวทางการสอนภาษาไทย ระดับประถมศึกษาไว้หลายวิธีดังนี้ 1.

สอนสระ พยัญชนะ ให้บอกชื่อ ออกเสียง และเขียน ให้ถูกต้องจะสอนครบทุกตัวทันทีหรือจะสอนบางตัวโดยเริ่มจากพยัญชนะที่เด็กได้พบก่อนแล้วค่อยเพิ่มขึ้นจนครบทุกตัวแล้วนำมาเรียงลำดับให้ถูกต้องในภายหลังก็ได้ 2. สอนคำ ให้อ่าน – เขียน ให้ถูกต้องรู้ความหมาย 3. สอนประโยค ให้อ่าน เขียน ให้ถูกต้องรู้ความหมายและใช้คำเรียงประโยคได้ถูกต้องทั้งในการพูดและการเขียน 4. สอนแจกลูก ให้สามารถจับหลักเกณฑ์วิธีออกเสียงผสมพยัญชนะกับสระ เพื่อนำไปใช้ในการอ่านและเขียนคำที่ต้องการได้ 5. สอนฝันให้สามารถจับหลักเกณฑ์วิธีออกเสียง ผันวรรณยุกต์ เพื่อนำไปใช้ในการอ่านและการเขียนคำที่ต้องการได้ 6. สอนการใช้ภาษาไทย ให้สามารถใช้ภาษาไทยสื่อความหมายแสดงความคิดเห็น ความรู้สึกทั้งการพูด และการเขียนได้ถูกต้องทั้งสะกดตัวและความหมายได้ดี ตามวัยและระดับชั้นเช่น ในการอภิปราย เล่าเรื่อง แต่งความ จดหมาย เป็นต้น การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยมิได้มุ่งเพียงการอ่านออกเขียนได้แต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น แต่เน้นที่ผลสัมฤทธิ์ของทักษะความเข้าใจภาษา คือการฟังและการอ่าน ทักษะการใช้ภาษาคือการพูดและการเขียน จนสามารถใช้ภาษาเป็นเครื่องมือสื่อความคิด ความเข้าใจ การหาเหตุผล แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง เพื่อนำไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ จึงควรยึดแนวการสอนดังนี้ 1.

การ พัฒนาการ สอน ภาษา ไทย voathai.com

รายละเอียดการสอนแต่ละประเภท ผมแยกออกเป็นเรื่องๆไว้แล้ว คำส่งท้าย: ทั้งหมดที่ผมเขียนมา ไม่ใช่สูตรสำเร็จ แต่จากที่ตัวเองพัฒนาการสอนภาษาไทยมาตลอด ตั้งแต่เป็นครูปี พ. ศ.

  • Youtubers Life บน Steam
  • เหรียญครบรอบ100ปีเกิดหลวงพ่อปาน วัดบางนมโค ด้านหลัง พระมหาวีระ หลวงพ่อฤๅษีลิงดำ เอกราช รุ่น1 สร้างปี 2518 - พุทธศิลป์พระเครื่อง ดอทคอม : Inspired by LnwShop.com
  • ดู หนัง the boy next door jennifer lopez scene
  • การ พัฒนาการ สอน ภาษา ไทย voathai.com
  1. อาคาร พาณิชย์ ชั้น เดียว ให้ เช่า
Wednesday, 23 February 2022